บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2018

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)

บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52 ( 2553). กล่าวว่า ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นการเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกัน ช่วยกันเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม นักศึกษาคนสำคัญ ได้แก่ สลาวิน เดวิดจอห์นสัน และรอเจอร์ จอห์สัน 1. องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ    1) การพึ่งพาและเกื้อกูลกัน    2) การปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด    3) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน    4) การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานกลุ่มย่อย    5) การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม 2. ผลของการเรียนรู้แบบร่วมมือ    1) มีความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมายมากขึ้น    2) มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น    3) สุขภาพจิตดีขึ้น 3. ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ    1) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ    2) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือย่างไม่เป็นทางการ    3) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร แม่นำ (2550). ทฤษฎีการเรียน...

ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และเชื่อมโยงความคิด (Apperception)

บริหารการศึกษากลุ่มดอนทอง 52 (2553).           ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดคนสำคัญของกลุ่มนี้ คือ จอห์น ล็อค   วิลเฮล์ม  วุนด์ ทิชเชเนอร์ และแฮร์บาร์ด ซึ่งมีความเชื่อ ดังนี้ 1.          มนุษย์เกิดมาไม่มีทั้งความดี ความเลวในตัวเอง   การเรียนรู้เกิดจากสิ่งแวดล้อม 2.          จอห์น ล็อค เชื่อว่า   การเรียนรู้เกิดจากบุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง  5 3.          วุนด์ เชื่อว่า จิตมีองค์ประกอบ  2   ส่วน  คือ การสัมผัสทั้ง  5   การรู้สึกและจินตนาการ 4.          ทิชเชเนอร์เชื่อว่าจิตมีองค์ประกอบ  3   ส่วน คือ การสัมผัสทั้ง  5  การรู้สึก และจินตนาการ 5.          แฮร์บาร์ต เชื่อว่า การเรียนรู้มี  3   ระดับ  คือ ขั้นการเรียนรู้โดยประสาทสัมผัส ขั้นจำ คว...

ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural Unfoldment)

สุริน ชุมสาย ณ อยุธยา ( 2553).            กล่าวว่า นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือรุสโซ ( Rousseau)  ฟรอเบล ( Froebel)  และเพสตาลอสซี ( Pestalozzi)  นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้ ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้  1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีและการกระทำใด ๆ เกิดขึ้นจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง ( good - active) 2. ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเอง หากได้รับเสรีภาพในการเรียนรู้ มนุษย์ก็จะสามารถพัมนาตนเองไปตามธรรมชาติ  3. รุสโซมีความเชื่อว่าเด็กไม่ใช่ผู้ใหญ่ตัวเล็ก ๆ เด็กมีสภาวะของเด็ก ซึ่งแตกต่างไปจากวัยอื่น การจัดการศึกษาให้เด้กจึงควรพิจารณาระดับอายุเป็นหลัก  4. รุสโซเชื่อว่าธรรมชาติคือแหล่งความรู้สำคัญเด็กควรจะได้เรียนรู้ ไปตามธรรมชาติ คือการเรียนรู้จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ จากผลของการกระทำของตน มิใช่การเรียนจากหนังสือหรือจากคำพูดบรรยาย  5. เพสตาลอสซีมีความเชื่อว่า คนมีธรรมชาติปนกันใน  3  ลักษณะ คือ คนสัตว์ ซึ่งมีลักษณะเปิดเผย เป็นทาสของกิเลส คนสังคม มีลักษณะที่จะเข้ากับสังคม คล้อยตามส...

ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)

เลิศชาย ปานมุข  (2558).           ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง ( Mental Discipline)   ไว้ดังนี้ นักคิด กลุ่มนี้มีความเชื่อว่า    จิตหรือสมองหรือสติปัญญา( mind)  สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก    ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร    จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น    หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้    โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา สยุมพร   ศรีมุงคุณ   (2555).             ได้รวมรวมทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นฝึกจิตหรือสมองทฤษฎีข( Mental Discipline)  ว่านักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า   จิตหรือสมองหรือสติปัญญา( mind)  สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก   ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร   จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น ...